คณะสื่อสารมวลชน
มหาวิทยาลัยรามคำแหง

คลังข้อมูลงานวิจัย

คณะสื่อสารมวลชน

MCRU Research Repository

ชื่อผลงาน :

การปรับตัวของ “งิ้ว” ในฐานะสื่อวัฒนธรรมและบทบาทในประชาคมอาเซียน.

ชื่ออื่นๆ :

ผู้สร้างผลงาน :

ปีที่ตีพิมพ์ :

สำนักพิมพ์ :

รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง อาเซียนบนเส้นทางประชาคม (ASEAN on the Path of Community) ประจำปี 2561 จัดโดยคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง 11 ธันวาคม 2561 : หน้า 91-107

บทคัดย่อ :

      “การแสดงงิ้ว” ในประเทศไทย จัดเป็นสื่อวัฒนธรรมที่มีบทบาทส าคัญและเป็นส่วนหนึ่งของวิถี การด าเนินชีวิตของคนไทยเชื้อสายจีนในประเทศไทยมาโดยตลอดปัจจุบัน“งิ้ว”ประสบปัญหามากมาย โดยเฉพาะการเสื่อมความนิยมในหมู่ผู้ชมคณะงิ้วแต่ละคณะในประเทศไทยได้พยายามปรับตัวเพื่อความอยู่ รอดภายใต้บริบทในยุคดิจิทัลในปัจจุบัน อย่างไรก็ตาม ปัจจัยเกื้อหนุนที่ส่งผลให้สื่อวัฒนธรรม“การแสดง งิ้ว” ยังคงสืบทอดมาถึงทุกวันนี้คือ บทบาทหน้าที่ของ “งิ้ว” ในฐานะสื่อการแสดงเพื่อประกอบพิธีกรรม ประกอบศาลเจ้าซึ่งสะท้อนบทบาทที่มีต่อสังคมไทยและประเทศเพื่อนบ้านในฐานะสื่อวัฒนธรรมร่วม อาเซียนและจากการศึกษาการปรับตัวเพื่อความอยู่รอดของ “งิ้ว” ภายใต้บริบทในยุคดิจิทัลยังสะท้อน การเปลี่ยนแปลงในรูปแบบของวัฒนธรรมการแสดงงิ้ว ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิดการผสมผสานทาง วัฒนธรรม (Cultural Hybridization) ซึ่งน าไปสู่ข้อเสนอแนะในการแสวงหาความร่วมมือระหว่าง ประชาคมในภูมิภาคอาเซียนในการร่วมกันอนุรักษ์วัฒนธรรมการแสดงงิ้วให้คงอยู่และพัฒนาให้ก้าวไปสู่ การเป็นทั้งวัฒนธรรมร่วมอาเซียนและวัฒนธรรมลูกผสมที่พร้อมเสริมสร้างให้เกิดเป็นอัตลักษณ์ร่วมของ อาเซียนเพื่อผลประโยชน์สูงสุดร่วมกันระหว่างสมาชิกในประชาคมอาเซียนในท้ายที่สุด

 


 

      Chinese street opera performance can be considered as a cultural media that has an important role and always been a part of lives of the Thai-Chinese in Thailand. Currently, the Chinese street opera has been affected by the reduced of popularity among its audiences. As a result, each Chinese street opera production crews in Thailand must adapt to survive within the context of digital age. The factor supporting this cultural media to sustainably continues today is its vital role as a performing media for rituals in “San Chao” or the Chinese shrines. Thus, the role of Chinese street opera towards the Thai societies and other Asean countries as a common Asean cultural media are reflected. This paper studies the adaptation for survival of Chinese street opera within the digital age and reflects the changes within the types of cultural performances of Chinese street opera under the Cultural Hybridization perspectives. The suggestions from this paper is to seek corroborations between the Asean communities in preserving Chinese street opera for further develop to be the common Asean culture and hybrid culture that support the unity of Asean identity, which will benefit the Asean communities at last.

 

ไฟล์เอกสารในรายการนี้

รายละเอียด :

รูปแบบ :

การปรับตัวของ “งิ้ว” ในฐานะสื่อวัฒนธรรมและบทบาทในประชาคมอาเซียน.