คณะสื่อสารมวลชน
มหาวิทยาลัยรามคำแหง
ประวัติการศึกษา
ปริญญาเอก ปร.ด. นิเทศศาสตร์และนวัตกรรม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ พ.ศ. 2560
ปริญญาโท นศ.ม นิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2556
ปริญญาตรี ร.บ. สังคมวิทยาและมานุษยวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ.2550
ความสนใจด้านวิชาการ
o การสื่อสารสุขภาพ
o การวิจัยการสื่อสาร
o เทคโนโลยีสื่อใหม่กับการสื่อสารระหว่างวัฒนธรรม
รายวิชาที่รับผิดชอบ
– MCS 1150 (MCS1100) การสื่อสารมวลชนเบื้องต้น
– MCS 2170 (MCS4602) การรู้เท่าทันสื่อ
– MCS 4170 การวิจัยสื่อสารมวลชนเบื้องต้น
ผลงานวิชาการ
หนังสือ/ตำรา บทความ
– กิรติ คเชนทวา. (2557). แนวทางการสื่อสารตราสินค้าเพื่อการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร กับผู้บริโภคเจเนอเรชั่นวาย. วารสารการประชาสัมพันธ์และการโฆษณา ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 2557, 105-115
– อนุพงค์ สุจริยากุล, สมิทธิ์ บุญชุติมา, และ กิรติ คเชนทวา. (2559). การพัฒนารูปแบบการสื่อสารความเสี่ยงจากวัณโรคในพื้นที่เสี่ยงวัณโรคดื้อยา หลายขนาน : กรณีศึกษาจังหวัดชายแดนไทย-เมียนมาร์ ปี2558. วารสารวิชาการสาธารณสุข, 25(4), 571-582.
– Boonchutima, S., Kachentawa. K., Limpavithayakul, M., & Prachansri, A. (2017). Longitudinal study of Thai people media exposure, knowledge, and behavior on dengue fever prevention and control. Journal of Infection and Public Health, DOI: http://dx.doi.org/10.1016/j.jiph.2017.01.016.
– Kachentawa. K., & Cheyjunya. P. (2017). Factors promoting participatory communication to create health communication behavior in the community. International Journal of Behavioral Science, 12(1), 13-28.
– อนุพงค์ สุจริยากุล, สมิทธิ์ บุญชุติมา, และ กิรติ คเชนทวา. (2560). การรับรู้และความเข้าใจต่อข้อความหลักในการสื่อสารความเสี่ยงภัยจากวัณโรค: กรณีศึกษาจังหวัดกาญจนบุรี ปี 2558. วารสารการประชาสัมพันธ์และการโฆษณา, 10(1), 95-107.
งานวิจัย
– พรพรรณ ประจักษ์เนตร, และกิรติ คเชนทวา. (2560). การประเมินแผนงานสร้างเสริมวัฒนธรรมการอ่าน ระหว่าง ปี พ.ศ. 2557-2559 ภายใต้แผนระบบสื่อและวิถีสุขภาวะทางปัญญากองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) (รายงานผลการวิจัย). กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)
– พัชนี เชยจรรยา, บุหงา ชัยสุวรรณ, พรพรรณ ประจักษ์เนตร, และกิรติคเชนทวา. (2561). ปัจจัยพยากรณ์ความสำเร็จในการส่งเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากในชุมชน: กรณีศึกษาจังหวัดชายแดนภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคใต้ (รายงานผลการวิจัย). กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (วช.). (อยู่ระหว่างดำเนินการวิจัย)
อาคารสุโขทัย ชั้น 2 มหาวิทยาลัยรามคำแหง
ถนนรามคำแหง หัวหมาก กรุงเทพฯ 10240
เวลาทำการ: จันทร์ – ศุกร์ เวลา 09:00 – 17:00 น.