คณะสื่อสารมวลชน
มหาวิทยาลัยรามคำแหง
ประวัติการศึกษา
ปริญญาเอก ปร.ด. (นิเทศศาสตร์และนวัตกรรม)
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ พ.ศ. 2561
ปริญญาโท บธ.ม. (การตลาด) มหาวิทยาลัยขอนแก่น พ.ศ. 2555
ปริญญาตรี ศศ.บ. (ภาษาอังกฤษธุรกิจ) มหาวิทยาลัยขอนแก่น พ.ศ. 2552
ความสนใจด้านวิชาการ
o การสื่อสารการตลาด
o การวางแผนการสื่อสาร
o การวิเคราะห์เนื้อหาสาร และบทบาทหน้าที่ของสื่อ
o การวัดอิทธิพล และการพัฒนามาตรวัดทางการสื่อสาร
รายวิชาที่รับผิดชอบ
MCS3354 การสื่อสารการตลาดแบบบูรณาการ
MCS2151 สื่อมวลชนสัมพันธ์
บทความ
– ภาณุฤทธิ์ สารสมบัติ, พัชนี เชยจรรยา, และ กาญจนา แก้วเทพ. (2560). การพัฒนาดัชนีชี้วัดวัฒนธรรมอาเซียน และมาตรวัดวัฒนธรรมอาเซียนสำหรับสื่อ. วารสารนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 35(2), 113-135.
– ภาณุฤทธิ์ สารสมบัติ. (2557). ไพร่ กระฎุมพี และศักดินชน ภาพสะท้อนสังคมในภาพยนตร์ Les Misérables (2012). วารสารวิทยาการจัดการสาร, 1(1), 151-164.
– ภาณุฤทธิ์ สารสมบัติ และ ก่อพงศ์ พลโยราช. (2556). อิทธิพลของแนวคิดหลักในโฆษณาผลิตภัณฑ์อาหารจากสัตว์ที่มีต่อทัศนคติของผู้บริโภค. BU ACADEMIC REVIEW, 12(1), 46-57.
– ชินวุฒิ สุขอ้วน, ก่อพงษ์ พลโยราช, และ ภาณุฤทธิ์ สารสมบัติ. (2556). ความเชื่อมโยงต่อตราสินค้าผลิตภัณฑ์ที่มาจากเนื้อสัตว์ของผู้บริโภค: กรณีศึกษา ศรีวิโรจน์ฟาร์ม (SF). การประชุมวิชาการระดับชาติด้านธุรกิจและเศรษฐกิจ ครั้งที่ 6 ประจำปี 2556 (กลุ่มตราสินค้าและการสื่อสารการตลาด), 1-12.
– ภาณุฤทธิ์ สารสมบัติ และ ก่อพงษ์ พลโยราช. (2556). ความสัมพันธ์ระหว่างสถานะเศรษฐกิจสังคมและแนวคิดหลักด้านคุณภาพในโฆษณาผลิตภัณฑ์อาหารจากสัตว์. The 1st Contemporary Tourism and Hospitality Research Conference 2012, มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 1-12.
– เมธินี ชัยนิคม, ก่อพงษ์ พลโยราช, และ ภาณุฤทธิ์ สารสมบัติ. (2556). ประเภทร้านค้าปลีกกับเกณฑ์ในการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์อาหารที่ได้จากสัตว์ของผู้บริโภคในเขต เทศบาลนครจังหวัดขอนแก่น. การประชุมวิชาการระดับชาติ ด้านธุรกิจและเศรษฐกิจ ครั้งที่ 6 ประจำปี 2556 (กลุ่มตราสินค้า และการสื่อสารการตลาด), 13-31.
– ก่อพงษ์ พลโยราช, ภาณุฤทธิ์ สารสมบัติ, ศุภฤกษ์ รัตนวงศ์สวัสดิ์, เมธินี ชัยนิคม, และ ทศพล ศิริพิริยะกุล. (2555). การวิเคราะห์เนื้อหาคําขวัญของสถาบันการอุดมศึกษา: ความสัมพันธ์ระหว่างประเภทสถาบันอุดมศึกษา บุคลิกภาพตราสินค้าและรูปแบบสิ่งจูงใจ. การประชุมวิชาการระดับชาติด้านธุรกิจและเศรษฐกิจ ครั้งที่ 5 ประจำปี 2555 (กลุ่มตราสินค้า
และการสื่อสารการตลาด), 1-13.
– ภาณุฤทธิ์ สารสมบัติ, ก่อพงษ์ พลโยราช, ประไพ จันทราสกุล, และ ชนากานต์ ดรไชย์. (2554). ตําแหน่งทางการตลาดของตราธนาคารในการรับรู้ของนักศึกษา: การศึกษาเชิงสืบเสาะ. การประชุมวิชาการระดับชาติ ด้านธุรกิจและเศรษฐกิจ ครั้งที่ 4 ประจำปี 2554 (กลุ่มตราสินค้าและการสื่อสารการตลาด), 625-636.
– Panurit Sarasombat, Alhuda Chanitphattana. (2013). Information Technology (IT) and Political Communication of North Korea. MediAsia 2013, Osaka, Japan.
อาคารสุโขทัย ชั้น 2 มหาวิทยาลัยรามคำแหง
ถนนรามคำแหง หัวหมาก กรุงเทพฯ 10240
เวลาทำการ: จันทร์ – ศุกร์ เวลา 09:00 – 17:00 น.