คณะสื่อสารมวลชน
มหาวิทยาลัยรามคำแหง
ประวัติการศึกษา
o ปริญญาโท นศ.บ. ประชาสัมพันธ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
พ.ศ.2530
o ปริญญาตรี นศ.ม. นิเทศศาสตรพัฒนาการ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
พ.ศ. 2532
ความสนใจด้านวิชาการ
o วารสารศาสตร์และสื่อออนไลน์
รายวิชาที่รับผิดชอบ
MCS 2260 (MCS 2201) การรายงานข่าว
MCS 2360 ภาษาเพื่อการสื่อสารขั้นสูง
MCS 3280 (MCS 3203) การเขียนบทความ
ผลงานวิชาการ
หนังสือ/ตำรา
วาริศา พลายบัว. (2548). การรายงานข่าว. กรุงเทพฯ:
สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง
วาริศา พลายบัว. (2548). การเขียนบทบรรณาธิการและบทวิจารณ์.
กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง
บทความ
วาริศา
พลายบัว.การวิเคราะห์บทบรรณาธิการในหนังสือพิมพ์เศรษฐกิจ.วารสารศ
รีปทุมปริทรรศน์, 2547
ปรีดา ณ พัทลุง, วาริศา พลายบัว.
การรับรู้ข่าวสารผ่านสื่อใหม่ความตระหนักและพฤติกรรมการดูแลสุขภาพเ
พื่อป้องกันโรค NCD ของประชาชนในกรุงเทพมหานคร,
การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 8 บัณฑิตวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยรามคำแหง 30 พฤศจิกายน 2559
วีระนันต์ บางท่าไม้, วาริศา พลายบัว.
การนำเสนอข่าวอาชญากรรมหน้าหนึ่งของหนังสือพิมพ์รายวันและการปฏิ
บัติตามวิชาชีพหนังสือพิมพ์.
วารสารมนุษยศาสตร์ฉบับบัณฑิตศึกษา ปีที่ 5 ฉบับที่ 2
พ.ศ.2559
งานวิจัย
วาริศา พลายบัว. (2553).
ภาวะการมีงานทำของบัณฑิตคณะมนุษยศาสตร์
มหาวิทยาลัยรามคำแหง ปีการศึกษา 2551. กรุงเทพฯ:
คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
วาริศา พลายบัว. (2552).
ความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตต่อคุณภาพของบัณฑิตจากคณะมนุษยศาส
ตร์ มหา วิทยาลัยรามคำแหง ปีการศึกษา 2550 -2551.
กรุงเทพฯ: คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
วาริศา พลายบัว. (2546).
การวิเคราะห์บทบรรณาธิการในหนังสือพิมพ์เศรษฐกิจ. กรุงเทพฯ
: มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
วาริศา พลายบัว. (2544).
บทบาทของสื่อเคเบิลทีวีในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ.
อุบลราชธานี: มหาวิทยาลัยโปลีเทคนิคภาคตะวันออกเฉียงเหนือ.
(งานวิจัยร่วม)
วาริศา พลายบัว. (2538).
สถานภาพและความก้าวหน้าของสตรีที่ปฏิบัติงานด้านสื่อสารมวลชน.
กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยสยาม.
อาคารสุโขทัย ชั้น 2 มหาวิทยาลัยรามคำแหง
ถนนรามคำแหง หัวหมาก กรุงเทพฯ 10240
เวลาทำการ: จันทร์ – ศุกร์ เวลา 09:00 – 17:00 น.