คณะสื่อสารมวลชน
มหาวิทยาลัยรามคำแหง

คลังข้อมูลงานวิจัย

คณะสื่อสารมวลชน

MCRU Research Repository

ชื่อผลงาน :

การทบทวนวรรณกรรมกับการกำหนดโครงร่างงานวิจัยด้านการสื่อสาร.

ชื่ออื่นๆ :

ผู้สร้างผลงาน :

ปีที่ตีพิมพ์ :

สำนักพิมพ์ :

วารสารรามคำแหง ฉบับมนุษยศาสตร์ ปีที่ 37 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม – ธันวาคมหน้า 149-174

บทคัดย่อ :

      การทบทวนวรรณกรรมถือเป็ นทักษะส าคัญและเป็ นการแสดงจุดยืนทางวิชาการของนักวิจัย บนพ้ืนที่อนั หลากหลายและกวา้งขวางทางวชิาการการทบทวนวรรณกรรมเป็ นการน าเสนอความ เกี่ยวขอ้งระหวา่ งงานวจิยัที่กา ลงัจดัทา กบังานวจิยัในอดีต ขอ้ถกเถียงทางวิชาการที่เป็ นเหตุเป็ นผล ที่เกิดข้ึนจากการสังเคราะห์ของนกัวิจยัจะท าให้ประเด็นหัวข้อวิจัยและแนวทางในการด าเนินการวิจัย มีความสมเหตุสมผลน่าเชื่อถือและนา ไปสู่คุณภาพของงานวิจัย บทความน้ีมีจุดประสงค์เพื่อช้ีให้เห็นถึงความส าคญั และจุดประสงค์ของการทบทวน วรรณกรรมที่น ามาใช้ในการกา หนดโครงร่างของงานวิจยัดา้นการสื่อสาร บทความน้ีพฒั นาข้ึน จากการศึกษาและคน้ควา้ขอ้ มูลผา่ นงานวิชาการและงานวิจยัที่เกี่ยวขอ้งกบัการทบทวนวรรณกรรม และการวิจัยด้านการสื่อสาร ผลการสังเคราะห์ของผู้เขียนพบว่า จุดประสงค์ของการทบทวน วรรณกรรมในการกา หนดโครงร่างงานวิจยัดา้นการสื่อสารสามารถแบ่งได้เป็ น 4 ประการ ไดแ้ก่ (1)การทบทวนวรรณกรรมเพื่อกา หนดที่มาและความส าคัญของปัญหา (2)การทบทวนวรรณกรรม เพื่อออกแบบกรอบแนวคิดในการวิจัย (3)การทบทวนวรรณกรรมเพื่อออกแบบระเบียบวิธีวิจัย และ (4)การทบทวนวรรณกรรมเพื่อขยายองค์ความรู้โดยบูรณาการกบัศาสตร์อื่น โดยผู้เขียนได้ อธิบายและยกตวัอยา่ งงานวจิยัที่มีการทบทวนวรรณกรรมตามจุดประสงคด์งักล่าวประกอบ

 


 

      Being able to review a literature is an important skill for any researcher. Literature review is an academic standpoint in which researchers locate themselves within wide and varied academic field. Literature review is to present the connection between the conducted research
and other previous researches. The academic arguments raised from critical and reflective analyses would lead to logically sound research topics and research methods. This article is intended to point out the importance and objectives of doing literature review for research proposals in communication field. The article is developed by studying academic works and previous researches that are related to ‘literature review’ and ‘communication research’. According to our analysis, it is found that the objectives of doing literature review for research proposals in communication can be divided into 4 categories: (1) to determine research problem statements, (2) to design conceptual framework, (3) to develop research design, and (4) to expand the new knowledge by integrating literature from other fields. The examples of
researches of different categories are included and explained.

 

ไฟล์เอกสารในรายการนี้

รายละเอียด :

รูปแบบ :

การทบทวนวรรณกรรมกับการกำหนดโครงร่างงานวิจัยด้านการสื่อสาร.