คณะสื่อสารมวลชน
มหาวิทยาลัยรามคำแหง

คลังข้อมูลงานวิจัย

คณะสื่อสารมวลชน

MCRU Research Repository

ชื่อผลงาน :

สัญญะแห่งการเรียนรู้เพื่อสร้างทัศนคติเชิงบวกต่อบุคคลพิการทางสายตาของนิทรรศการบทเรียนในความมืด.

ชื่ออื่นๆ :

ผู้สร้างผลงาน :

ปีที่ตีพิมพ์ :

สำนักพิมพ์ :

วารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ปีที่ 27 ฉบับที่ 55 กันยายน - ธันวาคม 2562 (หน้า 184-211)

บทคัดย่อ :

      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์สัญญะที่สำคัญแก่ผู้รับสารของนิทรรศการ บทเรียนในความมืด จากความรู้สึกเวทนาต่อผู้พิการทางสายตาเป็นการยอมรับและ เข้าใจ โดยใช้หลักทางสัญวิทยาในการวิเคราะห์และถอดสัญญะความหมายการสื่อสาร จากแหล่งข้อมูล 2 ประเภท ได้แก่ การสังเกตแบบมีส่วนร่วมของผู้วิจัย และการสัมภาษณ์ เชิงลึกกลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ กลุ่มตัวอย่างผู้เข้าร่วมประสบการณ์นิทรรศการบทเรียน ในความมืด ด้วยการพรรณนาวิเคราะห์ผ่านแนวคิดการเรียนรู้เพื่อการเปลี่ยนแปลง (Transformative learning) โดยผลการศึกษาพบว่า นิทรรศการบทเรียนในความมืด มี 4 สัญญะที่ทำให้ผู้รับสารเปลี่ยนจาก “เวทนา” เป็น “ยอมรับและเข้าใจ” คือ 1) บทสนทนา 2) ความมืด 3) ผู้นำทาง 4) ผู้เข้าร่วมประสบการณ์ซึ่งเป็นไปตาม แกนหลักของกระบวนการเรียนรู้เพื่อการเปลี่ยนแปลง ทั้งนี้ผลการสัมภาษณ์กลุ่มตัวอย่าง ผู้เข้าร่วมประสบการณ์พบว่า ผู้เข้าร่วมประสบการณ์มีทัศนคติที่เข้าใจและยอมรับใน ตัวผู้พิการทางสายมากขึ้น แต่ยังคงมีความสงสารเวทนาอยู่ ในอนาคตต่อยอดครั้งนี้ไปสู่การสื่อสารผ่านสื่อกิจกรรมอื่น ๆ ที่สามารถเปลี่ยนแปลงทัศนคติของความสงสาร เวทนาต่อผู้พิการทางสายตาได้อย่างสมบูรณ์ 

 


 

      This study aimed at analyzing the signification signs that the visitors received the message from Dialogue in the Dark Exhibition-changing their attitudes and perceptions toward blind people from pity into acceptance and understanding. Semiotics was employed to analyze
two data sources, namely, data collected from the researcher’s participatory observation, and data collected through in-depth interviews from people participating in the exhibition. The descriptive analysis was used through transformative learnings. The study found 4 key signs,
that changed the participants’ pity to acceptance and understanding, included 1) dialogue, 2) darkness, 3) guides, and 4) visitors that assisted to change the visitors’ attitudes and perceptions toward blind people. All these signs were the key factors to support transformative learning process among them. The results from the interviews also revealed that the visitors gained a better understanding, respect, and acceptance toward blind people; however, they still had a pity feeling toward them. In the future, to continue changing the people’s feeling toward the blind, we could convey the message through other activities that could completely change the attitude of compassion for the visually impaired. 

 

ไฟล์เอกสารในรายการนี้

รายละเอียด :

รูปแบบ :

สัญญะแห่งการเรียนรู้เพื่อสร้างทัศนคติเชิงบวกต่อบุคคลพิการทางสายตาของนิทรรศการบทเรียนในความมืด.