คณะสื่อสารมวลชน
มหาวิทยาลัยรามคำแหง

คลังข้อมูลงานวิจัย

คณะสื่อสารมวลชน

MCRU Research Repository

ชื่อผลงาน :

อิทธิพลของสื่อต่อการเตรียมพร้อมเพื่อคุณภาพชีวิต.

ชื่ออื่นๆ :

ผู้สร้างผลงาน :

ปีที่ตีพิมพ์ :

สำนักพิมพ์ :

วารสารนิเทศศาสตร์สยามปริทัศน์ ปีที่ 17 ฉบับที่ 23 กรกฎาคม – ธันวาคม : หน้า 121-127

บทคัดย่อ :

      การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์การวิจัย เพื่อศึกษา การเปิดรับสื่อและการเตรียมพร้อมของคนวัยทํางานมีผล ต่อคุณภาพชีวิต และศึกษาอิทธิพลของสื่อที่ส่งผลต่อวัย ทํางานกับการเตรียมพร้อมเพื่อคุณภาพชีวิต เป็นการวิจัย เชิงปริมาณ (quantitative research) มีตัวแปรอิสระ ได้แก่ การเปิดรับสื่อดั้งเดิม การเปิดรับสื่อใหม่ การเตรียม พร้อมด้านสุขภาพ (ร่างกายและจิตใจ) การเตรียมพร้อม ด้านเศรษฐกิจ และการเตรียม พร้อมด้านสังคม มีตัวแปรตาม คือ คุณภาพชีวิตและความคาดหวังในคุณภาพชีวิต สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ ทดสอบสมมติฐานและการวิเคราะห์การถดถอยเชิงพหุคูณ (multiple regression analysis) ผลจากการวิจัย พบว่า การเปิดรับสื่อดั้งเดิม สื่อ ใหม่ และการเตรียมพร้อมเพื่อคุณภาพชีวิตด้านสุขภาพ ด้านเศรษฐกิจ และด้านสังคม อยู่ในระดับปานกลาง (M = 3.19) เมื่อพิจารณารายข้อ พบว่า การเปิดรับสื่อ ใหม่อยู่ในระดับมาก (M = 3.50) ได้แก่ การใช้ไลน์ การ ใช้เฟซบุ๊ก และการใช้เว็บไซต์ และการเตรียมพร้อมเพื่อ คุณภาพชีวิตทั้ง 3 ด้าน อยู่ในระดับปานกลาง ได้แก่ ด้านสุขภาพ (M= 3.34) ด้านสังคม (M= 3.24) และด้านเศรษฐกิจ (M= 3.09) ตามลําดับ การทดสอบสมมติฐานพบว่า แบบจําลอง A: การเปิดรับสื่อและการเตรียม พร้อมมีผลในทางบวกต่อคุณภาพชีวิต สมมติฐาน 1.1 การเปิดรับสื่อใหม่มีผลในทาง บวกต่อคุณภาพชีวิต สมมติฐาน 1.2 การเตรียมพร้อมด้านสังคมมีผล ในทางบวกต่อคุณภาพชีวิต สมมติฐาน 1.3 การเตรียมพร้อมด้านเศรษฐกิจ มีผลในทางบวกต่อคุณภาพชีวิต สมมติฐาน 1.4 การเตรียมพร้อมด้านสุขภาพ
(ร่างกายและจิตใจ) มีผลในทางบวกต่อคุณภาพชีวิต ขณะที่ สมมติฐาน 1.5 การเปิดรับสื่อดั้งเดิมไม่มี ผลในทางบวกต่อคุณภาพชีวิต แบบจํา�ลอง B: การเปิดรับสื่อและการเตรียม พร้อมมีผลในทางบวกต่อความคาดหวังในคุณภาพชีวิต สมมติฐาน 2.1 การเปิดรับสื่อใหม่มีผลในทาง บวกต่อความคาดหวังในคุณภาพชีวิต สมมติฐาน 2.2 การเตรียมพร้อมด้านสังคมมีผล ในทางบวกต่อความคาดหวังในคุณภาพชีวิต ขณะที่ สมมติฐาน 2.3 สมมติฐาน 2.4 และ สมมติฐาน 2.5 ได้แก่ การเปิดรับสื่อดั้งเดิม การเตรียม พร้อมด้านสุขภาพ (ร่างกายและจิตใจ) และการเตรียม พร้อมด้านเศรษฐกิจไม่มีผลในทางบวกต่อความคาดหวัง ในคุณภาพชีวิต

 


 

In this thesis, the researcher studies exposure to media and working people who are making preparations for enhancing their quality of life. The researcher also examines the influence of media on these working people and on their preparations for enhancing their quality of life. The independent variables in this quantitative research investigation were exposure to traditional media, exposure to new media, health preparations (physical and mental), economic preparations, and social preparations. The dependent variables were the quality of life and expectations for the quality of life. Using techniques of descriptive statistics, the researcher analyzed the data collected in terms of percentage, mean, and standard deviation. In the testing of hypothesis, the researcher employed Pearson’s product moment correlation oefficient
(PPMCC) method in addition to multiple regression analysis (MRA). Findings are as follows: Exposures to traditional media, new media, and preparations for the quality of life in respect to the itemized aspects of health, economics and society were evinced at a moderate level (M = 3.19). When considering each itemized aspect, it was found that new media exposure—viz., exposure to Line, Facebook and websites—was exhibited at a high level (M = 3.50). Preparations for the quality of life in the three aspects considered were found to hold at a moderate level for health (M = 3.34), society (M = 3.24) and economics (M = 3.09), respectively. The results of hypothesis testing are as follows: Model A: Media exposure and preparations positively affected the quality of life. Hypothesis 1.1: New media exposure positively affected the quality of life. Hypothesis 1.2: Social preparations positively affected the quality of life. Hypothesis 1.3: Economic preparations positively affected the quality of life. Hypothesis 1.4: Health preparations (physical and mental) positive ly affected the quality of life. Hypothesis 1.5: Traditional media exposure did not positively affect the quality of life. Model B: Media exposure and preparations positively affected expectations for the quality of life. Hypothesis 2.1: New media exposure positively affected expectations for the quality of life. Hypothesis 2.2: Social preparations positively affected expectations for the quality of life. Hypothesis 2.3, hypothesis 2.4, and hypothesis 2.5—viz., traditional media exposure, health preparations (physical and mental), and economic preparations—did not positively affect expectations for the quality of life.

 

ไฟล์เอกสารในรายการนี้

รายละเอียด :

รูปแบบ :

อิทธิพลของสื่อต่อการเตรียมพร้อมเพื่อคุณภาพชีวิต.