คณะสื่อสารมวลชน
มหาวิทยาลัยรามคำแหง

คลังข้อมูลงานวิจัย

คณะสื่อสารมวลชน

MCRU Research Repository

ชื่อผลงาน :

กลยุทธ์การนำเสนอเนื้อหาข่าวข้ามสื่อบนเฟซบุ๊กของสถานีโทรทัศน์: กรณีศึกษาสถานีโทรทัศน์พีพีทีวี เอชดี ช่อง 36 และไทยพีบีเอส.

ชื่ออื่นๆ :

ผู้สร้างผลงาน :

ปีที่ตีพิมพ์ :

สำนักพิมพ์ :

การประชุมวิชาการปัญญาภิวัฒน์ระดับชาติ ครั้งที่ 10 และนานาชาติ ครั้งที่ 3

บทคัดย่อ :

      บทความวิชาการศึกษากลยุทธ์การน าเสนอข่าวบนเฟซบุ๊กของสถานีโทรทัศน์ 2 ช่อง คือ สถานีโทรทัศน์ พีพีทีวี เอชดี ช่อง 36 (PPTVHD 36) และ ไทยพีบีเอส (Thai PBS) เพื่อวิเคราะห์วิธีการ รูปแบบ และแนวคิด ในการน าเสนอข่าวข้ามสื่อจากข่าวโทรทัศน์สู่การน าเสนอบนสื่อสังคมออนไลน์ โดยเฉพาะแพลตฟอร์มเฟซบุ๊ก โดยศึกษาจากสองส่วนคือ การสัมภาษณ์เชิงลึกและการวิเคราะห์เนื้อหาที่มีการน าเสนอข่าวผ่านเฟซบุ๊กของทั้ง สองสถานีเพื่อเป็นตัวอย่างประกอบจากการสัมภาษณ์ ผลการศึกษาพบว่า สถานีโทรทัศน์พีพีทีวี 36 เอชดีช่อง 36 เป็นองค์กรสื่อสารมวลชนเชิงพาณิชย์ที่ แสวงหาผลก าไรทางธุรกิจ มีกลยุทธ์การน าเสนอข่าวบนเฟซบุ๊ก ดังนี้ 1. รูปแบบการน าเสนอเนื้อหาข่าวสาร ของสถานีบนเฟซบุ๊กที่มีการน าเสนอสูงสุด คือ การโพสต์ตัวเชื่อมโยงหรือลิงค์ข่าวเพื่อให้ผู้อ่านเข้าอ่านเนื้อหา บนเว็บไซต์ให้มากที่สุด เพราะจะท าให้ได้อ่านรายละเอียดมากกว่าอ่านบนเฟซบุ๊ก นอกจากนี้ยังสามารถ น าเสนอรูปภาพ กราฟิก และวีดิโอได้ด้วยบนหน้าเว็บไซต์เดียว ลิงก์ข่าวยังช่วยดึงให้คนกลับไปสู่เว็บไซต์ซึ่งช่วย เพิ่มเพจวิวผลที่ได้คือยอดการซื้อพื้นที่โฆษณาเพิ่มขึ้นซึ่งเป็นการเพิ่มรายได้ให้กับทางสถานีอีกด้วย 2.ในส่วน ของการก าหนดวาระข่าวสารข้ามสื่อนั้น ทางทีมข่าวจะมีการประชุมข่าวทั้งทีมนิวมีเดียและทีมโทรทัศน์ร่วมกัน ทุกวัน และหากมีประเด็นใดที่น่าสนใจก็จะท างานร่วมกัน นอกจากนี้ทีมนิวมีเดียก็จะมีการน าเสนอประเด็นที่ เป็นกระแสในสื่อสังคมออนไลน์ให้กับทีมโทรทัศน์ทั้งนี้ก็อยู่ที่ทีมโทรทัศน์จะสนใจในประเด็นนั้นด้วยหรือไม่ ในส่วนของสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอสในฐานะสื่อสาธารณะซึ่งเป็นองค์กรที่ไม่แสวงหาก าไรและไม่มี ผลประโยชน์ในเรื่องของทุนมาเกี่ยวข้อง รวมถึงไม่หารายได้ผ่านการโฆษณา มีกลยุทธ์การน าเสนอข่าวบน เฟซบุ๊ก ดังนี้ 1. สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอสมีการน าเสนอข่าวในรูปแบบวีดิโอสูงสุด โดยการน าเสนอในรูปแบบ วีดิโอมีความเหมาะสมกับแพลตฟอร์มเฟซบุ๊กเนื่องจากรูปแบบวีดิโอสามารถสร้างการมีปฏิสัมพันธ์กับผู้รับสาร ได้มากอีกด้วย 2. การก าหนดวาระทีมนิวมีเดียและทีมสื่อโทรทัศน์ของสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอสมีการท างาน ในร่วมกัน คือ หากมีประเด็นใดบนสื่อออนไลน์ที่น่าสนใจ ทางทีมนิวมีเดียจะรายงานไปยังทีมสื่อโทรทัศน์แต่ ประเด็นนั้น ๆ 

 


 

      This academic study aims to examine the news-reporting strategies that lead two Thai television stations – PPTV 36 HD and Thai PBS – to use Facebook for primary dissemination of breaking news. The objective is to identify the types of content the two stations post on Facebook and to study the work processes between new-media and television-news editorial teams, especially the cross-media strategies used to link the two platforms and optimize their distinctive communication features. In-depth interview was applied as a main method in this study and content analysis was being used to support the interviews. The Facebook fan page of PPTV 36 HD shows that the most-used post type for this TV station’s content are weblinks from its news website. This is followed by photo and video posts. This content strategy arises from PPTV’s intention to maximize the use of its Facebook page to drive traffic to its website, because the station prefers to utilize the website’s ability to display multimedia content on one page to a mass audience. In contrast, the Facebook fan page of Thai PBS shows video content as the most-used post type, followed by photo posts and weblinks from its website. Additionally, in-depth interviews by new-media officers show that the Thai PBS team prefers to use video content to engage wider audiences on its Facebook platform, rather than using other other types of content, in order to make the most of its television-based video resources. Both organizations also employ inter-media news-coverage agendas involving both new-media and television-news editorial teams when it comes to big news issues, or issues that catch the interest of both teams.

 

ไฟล์เอกสารในรายการนี้

รายละเอียด :

รูปแบบ :

กลยุทธ์การนำเสนอเนื้อหาข่าวข้ามสื่อบนเฟซบุ๊กของสถานีโทรทัศน์: กรณีศึกษาสถานีโทรทัศน์พีพีทีวี เอชดี ช่อง 36 และไทยพีบีเอส.