คณะสื่อสารมวลชน
มหาวิทยาลัยรามคำแหง

คลังข้อมูลงานวิจัย

คณะสื่อสารมวลชน

MCRU Research Repository

ชื่อผลงาน :

การพัฒนาระบบแนะนำการเผยแพร่ผลงานวิจัยเพื่อประกอบการสำเร็จการศึกษาของนิสิตระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

ชื่ออื่นๆ :

ผู้สร้างผลงาน :

ปีที่ตีพิมพ์ :

สำนักพิมพ์ :

วารสารการวัดผลการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 25 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2562 (หน้า 282 -295)

บทคัดย่อ :

      งานวิจัยครั้งนี้ มีความมุ่งหมายเพื่อ 1) พัฒนาระบบแนะน าการเผยแพร่ผลงานวิจัยเพื่อประกอบการ  ส าเร็จการศึกษา ของนิสิตระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 2) เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบการรับรู้ ของผู้ใช้ระบบก่อนและหลังใช้ระบบที่พัฒนาขึ้น 3) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของผู้ใช้ระบบ หลังใช้ระบบที่พัฒนาขึ้น 4) เพื่อหาประสิทธิภาพระบบที่พัฒนาขึ้น กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการงานวิจัยครั้งนี้ คือ นิสิตระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม จ านวน 50 คน ซึ่งได้มาจากการเลือกแบบเจาะจง (purposive sampling) เครื่องมือ ที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) ระบบแนะน าการเผยแพร่ผลงานวิจัยเพื่อประกอบการส าเร็จการศึกษา ของนิสิตระดับ บัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 2) แบบส ารวจความต้องการรูปแบบระบบ 3) แบบประเมินความ คิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญที่มีต่อระบบ 4) แบบประเมินระดับการรับรู้และความพึงพอใจเกี่ยวกับการใช้ระบบ สถิติ ที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติ t-test dependent samples ผลการวิจัย ปรากฏ ดังนี้

  1. ระบบแนะน าการเผยแพร่ผลงานวิจัยเพื่อประกอบการส าเร็จการศึกษา ของนิสิตระดับ บัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม มีการพัฒนาเป็นรูปแบบสื่อมัลติมีเดีย ที่มีทั้งข้อความ รูปภาพ ประกอบการบรรยายเนื้อหา และวีดีโอในการแนะน าเนื้อหาเกี่ยวกับการเผยแพร่ผลงานวิจัยเพื่อประกอบการ ส าเร็จการศึกษา ของนิสิตระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม โดยมีการ์ตูนแอนิเมชันในรูปแบบ 2 มิติเป็นตัวเล่าเรื่อง และเผยแพร่ในเว็บ https://grad.msu.ac.th/researchpublication/ การประเมินความเห็นของผู้เชี่ยวชาญที่มีต่อระบบ พบว่า ผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหามีความ คิดเห็นต่อระบบแนะน าการเผยแพร่ผลงานวิจัยเพื่อประกอบการส าเร็จการศึกษา ของนิสิตระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ด้านเนื้อหามีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากที่สุด ผู้เชี่ยวชาญด้านการออกแบบ มีความคิดเห็นต่อระบบด้านการออกแบบโดยรวมและรายด้าน 2 ด้าน มีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากที่สุด โดยเรียงค่าเฉลี่ยมากที่สุดและรองลงมา คือ ด้านเสียงและภาษา และด้านระยะเวลาในการใช้ระบบ และมี ความคิดเห็นต่อระบบด้านภาพและตัวอักษรมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก
  2. ผู้ใช้ระบบมีระดับการรับรู้เกี่ยวกับระบบแนะน าการเผยแพร่ผลงานวิจัยเพื่อประกอบการส าเร็จ การศึกษา ของนิสิตระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม หลังใช้ระบบ เกี่ยวกับเนื้อหาโดยรวมและ การรับรู้ทั้ง 5 ประเด็น สูงกว่าก่อนใช้ระบบอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยก่อนใช้ระบบมีระดับการ รับรู้เกี่ยวกับประเด็น 4 ประเด็นอยู่ในระดับปานกลาง คือ 1) การตรวจสอบและสืบค้นวารสารในฐานข้อมูล ระดับชาติและฐานข้อมูลสากล 2) ข้อบังคับ ประกาศ และแนวปฏิบัติที่เกี่ยวข้องกับการเผยแพร่ผลงานวิจัยเพื่อ ประกอบการส าเร็จการศึกษา 3) สรุปแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการเผยแพร่บทความวิจัยหรือการเผยแพร่ผลงาน สร้างสรรค์เพื่อประกอบการส าเร็จ 4) ข้อควรระวังในการเผยแพร่ผลงานวิจัยเพื่อประกอบการส าเร็จการศึกษา ตามล าดับ และมีระดับการรับรู้เกี่ยวกับการตรวจสอบ Beall’s List / Hijacked Journal อยู่ในระดับน้อย แต่หลังใช้ระบบแล้วมีระดับการรับรู้เกี่ยวกับเนื้อหาโดยรวม และทั้ง 5 ประเด็นอยู่ในระดับมาก
  3. ผู้ใช้ระบบมีระดับความพึงพอใจเกี่ยวกับระบบแนะน าการเผยแพร่ผลงานวิจัย เพื่อประกอบ การส าเร็จการศึกษา ของนิสิตระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม หลังใช้ระบบ โดยรวมและรายด้าน ทั้ง 4 ด้านอยู่ในระดับมาก โดยเรียงล าดับค่าเฉลี่ยจากมากที่สุด และรองลงมา 3 อันดับ คือ ด้านการใช้งาน: เมนูง่ายต่อการใช้งาน มีความสะดวกต่อการเข้าถึงข้อมูลที่สนใจและต้องการค้นหา ด้านการออกแบบ: มีการ จัดการระบบ ปริมาณของหัวข้อ/ข้อมูล/ภาพ ขนาดตัวอักษรเหมาะสม ด้านการใช้ภาษา: มีความชัดเจน ประโยคและภาษาที่ใช้มีความเหมาะสมกับผู้ใช้ และด้านเนื้อหา: มีคุณค่าต่อความจ าเป็นและการแก้ปัญหา ที่เห็นผลตามล าดับ
  4. ค่าประสิทธิภาพของระบบแนะน าการเผยแพร่ผลงานวิจัยเพื่อประกอบการส าเร็จการศึกษา ของนิสิตระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัย มหาสารคามอยู่ในระดับมาก

      โดยสรุป ระบบที่พัฒนาขึ้นเป็นรูปแบบสื่อมัลติมีเดียเผยแพร่ออนไลน์ให้กับอาจารย์ นิสิตระดับ
บัณฑิตศึกษา บุคลากรและผู้ที่เกี่ยวข้องสามารถศึกษา และท าความเข้าใจเกี่ยวกับแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการ
เผยแพร่ผลงานวิจัยเพื่อประกอบการส าเร็จการศึกษาของนิสิตระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคามได้
ตลอดเวลา และเป็นระบบสารสนเทศที่น ามาใช้ในการบริหารจัดการเรียนการสอนนิสิตระดับบัณฑิตศึกษาให้มี
ประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

 


 

      This research aimed to 1) develop an advice system for research publication  required for graduation of Mahasarakham University graduate students, 2) study and compare  the perception of system users before and after using the developed system, 3) study the satisfaction of the system users after using the developed system, and 4) find the efficiency
of the system developed. The sample in this study consisted of 50 graduate students of Mahasarakham University, obtained through purposive sampling. The research tools used in this study comprised: 1) the advice system for research publication required for graduation of Mahasarakham University graduate students, 2) a survey form for system requirements, 3) an expert evaluation form, and 4) a perception and satisfaction assessment form for using the system. The statistics used for data analysis were percentage, the mean, standard deviation and t-test dependent samples. The findings were as follows: 

  1. The advice system for research publication required for graduation of Mahasarakham University graduate students was developed in a form of multimedia. It was composed of text, pictures, subtitles, and a video introducing the content about research publication required for graduation, with a 2-dimentional animation as the narrator of the
    multimedia. The system was published online on the web site: https://grad.msu.ac.th/researchpublication/ The expert’s opinion from the assessment of the content of the advice system for research publication required for graduation of Mahasarakham University graduate students revealed that the suitability of the system content was in the highest level. The suitability of the system design, as a whole and on two aspects: the aspect of the sound and the language and the aspect of duration in using the system was in the highest level. The former ranked first and the latter ranked second. Meanwhile, the aspect of pictures and the font size was in the high level.
  2. After using the system, the perception level of the users on the advice system  for research publication required for graduation of Mahasarakham University graduate students, on the system content as a whole and on 5 issues, was higher than before using the system, with statistical significance at the 0.05 level. That is, before using the system, the perception level on 4 aspects was in the moderate level: 1) checking and retrieving journals in national and international databases; 2) rules, announcements and guidelines for research publication required for graduation; 3) summary of guidelines for research publication or creative works for graduation; and 4) cautions in research publication required for graduation; respectively. The perception level on checking journals on Beall’s list or Hijacked journal list was low. After using the system, the perception level on all issues and the overall content was in the high level.
  3. After using the system, the satisfaction levels of the users on the advice system for research publication required for graduation of Mahasarakham University graduate students, as a whole and on each of the 4 aspects were in the high level. Ranked in descending order, the aspects were: on the aspect of usability, the menu was easy to use and it was convenient to access the data; on the aspect of design, the design was systematic with appropriate topics, data, pictures and font size; on language usage, it was clear and appropriate for users; and on the aspect of content, it was worth a necessity and effective problem solving, respectively.
  4. The efficiency of the advice system for research publication required for graduation of Mahasarakham University was in a high level.

      In conclusion, the system that had been developed was an online multimedia system aiming to serve the teaching staff and graduate students. Concerned personnel could study and try to understand about the guidelines for research publication required for graduation of Mahasarakham University graduate students all the time. It was an information
system that could facilitate more effective graduate study.

 

ไฟล์เอกสารในรายการนี้

รายละเอียด :

รูปแบบ :

การพัฒนาระบบแนะนำการเผยแพร่ผลงานวิจัยเพื่อประกอบการสำเร็จการศึกษาของนิสิตระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.