คณะสื่อสารมวลชน
มหาวิทยาลัยรามคำแหง

คลังข้อมูลงานวิจัย

คณะสื่อสารมวลชน

MCRU Research Repository

ชื่อผลงาน :

คุณค่าข่าวในการนำเสนอของสื่อมวลชนไทย.

ชื่ออื่นๆ :

ผู้สร้างผลงาน :

คำสำคัญ :

ปีที่ตีพิมพ์ :

สำนักพิมพ์ :

News Worthiness in Thai Mass Media’s Presentation. วารสารรามคำแหง ฉบับมนุษยศาสตร์ ปีที่ 36 ฉบับที่ 1 หน้า 61-86

บทคัดย่อ :

      การวิจยัน้ีมีวตัถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพนัธ์ระหว่างปัจจยัส่วนบุคคล พฤติกรรมการ เปิดรับข่าวจากสื่อมวลชน และความต้องการเปิดรับข่าวจากสื่อมวลชน กับคุณค่าข่าวใน การน าเสนอของสื่อมวลชนไทย ซึ่งเป็ นการวิจัยเชิงปริมาณ ใช้แบบสอบถามเป็ นเครื่องมือเก็บ รวบรวมข้อมูล กลุ่มตวัอยา่ งคือ ประชาชนในกรุงเทพมหานครที่มีอายุต้งัแต่16 ปีข้ึนไป จ านวน 400 คน ใช้วิธีการสุ่มตวัอยา่ งแบบแบ่งกลุ่ม สถิติในการทดสอบสมมติฐานไดแ้ก่การทดสอบค่าที การวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียว ค่าสัมประสิทธ์ิสหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และ การเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยรายคู่ดว้ยวิธีLSD ผลการทดสอบสมมติฐานที่ระดับนัยส าคัญทางสถิติ 0.05 พบวา่ (1) ประชาชนในกรุงเทพมหานครที่มีปัจจยัส่วนบุคคลดา้นเพศและด้านอาชีพต่างกนั มีการประเมินคุณค่าข่าวในการน าเสนอของสื่อมวลชนไทยแตกต่างกัน (2) ประชาชนใน กรุงเทพมหานคร ที่มีพฤติกรรมการเปิดรับข่าวจากสื่อมวลชนด้านสื่อที่นิยมเปิ ดรับ ช่วงเวลาที่ใช้ในการเปิ ดรับ และด้านระยะเวลาในการเปิดรับต่างกนั มีการประเมินคุณค่าข่าวในการน าเสนอของสื่อมวลชนไทยแตกต่างกนั และ (3) ความต้องการเปิดรับข่าวจากสื่อมวลชนของประชาชนในกรุงเทพมหานคร มีความสัมพนัธ์ทางบวกในระดบั ปานกลาง กบั การประเมินคุณค่าข่าวในการน าเสนอของสื่อมวลชนไทย

 


 

      In this research investigation, the researcher examines the relationships between demographical factors, news exposure behaviors from the mass media, and the need for such news exposure and news worthiness in the presentation of Thai mass media. In this quantitative
research investigation, using the cluster sampling method, the researcher selected a sample population of 400 members. Using a questionnaire as a research instrument, the researcher collected a sample population consisting of Bangkok Metropolis residents sixteen years of age
or above. Using techniques of descriptive statistics, the researcher employed a t test technique and the one-way analysis of variance (ANOVA) technique in addition to Pearson’s product moment correlation coefficient and the least significant difference (LSD) multiple comparison
methods. The results of hypothesis testing at 0.05 level of significance were as follows. (1) The Bangkok Metropolis residents who differed in the demographical characteristic of gender exhibited concomitant statistically significant differences in concern with evaluating of news
worthiness in Thai mass media’s presentations. (2) Subjects who differed in mass media exposure behaviors in the aspect of media type revealed associated and respect to the aspect of length of time of having been exposed displayed parallel and the aspect of length of time having been exposed manifested concomitant statistically significant differences in concern with evaluating of news worthiness in Thai mass media’s presentations. (3) The researcher also determined that the overall need for news exposure were positively correlated with evaluating of news worthiness in Thai mass media’s presentations at a moderate level. 

 

ไฟล์เอกสารในรายการนี้

รายละเอียด :

รูปแบบ :

คุณค่าข่าวในการนำเสนอของสื่อมวลชนไทย.