คณะสื่อสารมวลชน
มหาวิทยาลัยรามคำแหง

คลังข้อมูลงานวิจัย

คณะสื่อสารมวลชน

MCRU Research Repository

ชื่อผลงาน :

แนวทางการพัฒนาสื่อใหม่ด้วยการ์ตูนแอนิเมชั่น 2 มิติ เพื่อถ่ายทอดวัฒนธรรมอาเซียน.

ชื่ออื่นๆ :

ผู้สร้างผลงาน :

ปีที่ตีพิมพ์ :

สำนักพิมพ์ :

รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง อาเซียนบนเส้นทางประชาคม (ASEAN on the Path of Community) ประจำปี 2561 จัดโดยคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง 11 ธันวาคม 2561 : หน้า 91-107

บทคัดย่อ :

      วัฒนธรรมของประเทศกลุ่มอาเซียนมีความหลากหลายและเป็นสิ่งที่บุคคลทั่วไปให้ความสนใจ ต้องการรับรู้และสัมผัสวัฒนธรรมของแต่ประเทศ ดังนั้น การสร้างสื่อเพื่อถ่ายทอดเรื่องราววัฒนธรรม จึงเป็นสิ่งส าคัญ ผู้พัฒนาสื่อจึงควรให้ความส าคัญในการเลือกผลิตสื่อที่สามารถเข้าถึงและตอบสนอง ความต้องการของบุคคลทั่วไป โดยปัจจุบัน คนในสังคมมีความสามารถในการเข้าถึงสื่อต่างๆ ได้ง่าย และ มีความสนใจในการรับรู้เรื่องราวต่างๆ ในรูปแบบสื่อใหม่ผ่านทางสื่อดิจิทัลมีเดีย อาทิเช่น Facebook, Line, Instragram, Website, Youtube มากกว่าสื่อโทรทัศน์ วิทยุ และสิ่งพิมพ์ บทความเรื่องนี้ กล่าวถึง ความหมาย ประเภทของสื่อใหม่ และน าเสนอแนวทางการพัฒนาสื่อ ด้วยการ์ตูนแอนิเมชัน 2 มิติ เพื่อถ่ายทอดวัฒนธรรมอาเซียน เรื่อง การทักทาย ของประเทศไทย ฟิลิปปินส์ และอินโดนีเซีย โดยก าหนดกลุ่มเป้าหมายในการรับชมสื่อ คือ นักเรียนระดับประถมศึกษา และมีกระบวนการสร้างการ์ตูนแอนิเมชัน 2 มิติ เป็นตัวละครเล่าเรื่อง ประกอบภาพ เสียง ตามหลัก 3 P คือ (1) P 1 = การเตรียมงาน (Pre – production) (2) P 2 = ขั้นตอนการพัฒนาสื่อ (Production) และ (3) P3 = Post – production เพื่อถ่ายทอดวัฒนธรรมอาเซียนให้มีความน่าสนใจ สามารถเข้าถึงบุคคล ทั่วไปได้อย่างรวดเร็ว และเพื่อให้บุคคลที่สนใจพัฒนาสื่อใหม่ด้วยการ์ตูนแอนิเมชัน 2 มิติ ได้รับรู้ และเข้าใจขั้นตอนการพัฒนาสื่อและสามารถน าไปเป็นแนวทางในการพัฒนาสื่อต่อไปได้

 


 

      The diversity of ASEAN culture is interested in general public. It is an essential for ASEAN people to perceive and connect to each other culture. Therefore, a contribution of media to exchange the culture is a necessity. Thus, media producer should consider to provide a capability of cultural media which can fulfill the people demand. Especially, at the present time, people are able to access many media platforms in particular the new media or digital media including Facebook, Line, Instragram, Website, Youtube. These new media is coming to be the first priority while the old media (e.g. television, broadcasting radio, newspaper) is fading down. This article aims to project the definition of new media and proposes the development of 2 dimensional animation (2D animation) by using the greeting of Thai, Philippines and Indonesian as a subjects. The group of study is a children in primary school level. The creating process of this study used the method of 3P which are P1 (Pre-production), P2 (Production), and P3 (Post-production) via 2D character, image, and sound. The author expects that this study will be the new pathway and guideline for using a digital media as a cultural tool in the future. Keywords: New Media, 2 Dimensions Animation , ASEAN Culture

 

ไฟล์เอกสารในรายการนี้

รายละเอียด :

รูปแบบ :

แนวทางการพัฒนาสื่อใหม่ด้วยการ์ตูนแอนิเมชั่น 2 มิติ เพื่อถ่ายทอดวัฒนธรรมอาเซียน.